วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556

คุณสมบัติของหน่วยความจำ


หน่วยความจำแคช (Cache)
             เป็นหน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือเรียกใช้บ่อยๆ เป็นหน่วยความจำที่สร้างมาจากหน่วยความจำแรมแบบ SRAM  (Synchronous  Dynamic  RAM)ซึ่งมีระบบการทำงานที่เร็วกว่าหน่วยความจำแรมแบบ DRAM (Dynamic  RAM) หน่วยความจำแคช  ทำหน้าที่ cache จะทำการบันทึกข้อมูลที่ค้นพบไว้ใน high-speed memory chips ที่มีเฉพาะภายใน cache ในทันที่ cache ตรวจสอบพบว่า CPU ได้ทำงานเสร็จสิ้นและกำลังว่างอยู่ cache จะทำการค้นหาข้อมูลหรือรหัสของโปรแกรม ซึ่งอยู่ใกล้เคียงกับตำแหน่งของข้อมูลที่ทางโปรแกรมได้เรียกใช้ก่อนหน้านี้จาก memory address และจัดเก็บข้อมูลไว้ใน high-speed memory chips ครั้งต่อไปที่ทางโปรแกรมถามหาข้อมูลจากทางหน่วยประมวลผลกลาง(CPU) cacheจะตรวจสอบดูว่าข้อมูลที่โปรแกรมต้องการมีอยู่ใน high-speed memory chips แล้วหรือยัง ถ้ามีอยู่แล้ว cache จะส่งข้อมูลไปให้ CPUได้โดยไม่จำเป็นต้องผ่านหน่วยความจำหลักซึ่งมีการทำงานที่ช้ากว่ามาก ทำให้ CPU สามารถลดเวลาไร้ประสิทธิภาพ และทำงานได้มากขึ้น
หน่วยความจำแบบไดนามิกแรม
        เป็นแรมที่มีโครงสร้างแตกต่างจากสแตติกแรม ทำให้สามารถมีความจุสูงกว่าสแตติกแรม 4 เท่า ทำให้กินกำลังไฟฟ้าในการทำงานน้อยกว่าสแตติกแรมอยู่ในเกณฑ์ 1/4 ถึง 1/6 เท่าของสแตติกแรม ซึ่งเมื่อเทียบราคาต่อบิตแล้วราคาจะสูง สแตติกแรมจึงถูกนำมาใช้ในหน่วยความจำขนาดเล็ก เช่น ระบบไมโครโปรเซสเซอร์ เป็นต้น การควบคุมกระบวนการทำงานของไดนามิกแรม ต้องมีวงจรรีเฟรชหน่วยความจำ
หน่วยความจำแบบสแตติกแรม
        เป็นแรมที่มีฟลิบฟลอบเป็นตัวเก็บข้อมูลภายในแต่ละบิต ดังนั้นข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในสแตติกแรมจะไม่สญหายไปจนกระทั่งสแตติกแรมไม่ได้รับแรงดันไบอัสฟลิปฟลอปภายในสแตติกแรมมี 2 แบบ คือ แบบที่ใช้ไบโพล่าร์ทรานซิสเตอร์ และแบบที่ใช้มอสทรานซิสเตอร์ ซึ่งชนิดที่เป็นมอสทรานซิสเตอร์จะกินกำลังไฟฟ้าน้อยกว่าชนิดไบโพล่าร์ทรานซิสเตอร์
การทำงานของสแตติกแรม
        สแตติกแรมส่วนมากใช้ต่อภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ และต่อใช้งานโดยการควบคุมของซีพียู ในการอ่านหรือเขียนข้อมูลภายในสแตติกแรมจะใช้ความเร็วสูงมากซึ่งเท่ากับความเร็วซีพียู ดังนั้นการนำสแตติกแรมและชิปที่ใช้ควบคุมไปใช้ร่วมกับซีพียูใดๆ จะต้องศึกษาคู่มือของแรมให้ละเอียด เวลาการทำงานของสแตติกแรมแบ่งเป็นรอบการอ่านข้อมูลและรอบการเขียนข้อมูล 


วันอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ใบงานที่ 1 ค่าแรงดันไฟฟ้าตามสีของสายในเพาเวอร์ซับพลาย


ใบงาน
เรื่อง  ค่าแรงดันไฟฟ้าตามสีของสายในเพาเวอร์ซับพลาย
คำชี้แจง  ให้นักศึกษาบอกค่าแรงดันไฟฟ้า ตามสีของสายไฟในเพาเวอร์ซับพลาย ต่อไปนี้
ที่
รายการ
แรงดันไฟฟ้า
หน่วย
1
สายสีส้ม
3.3
Volt
2
สายสีดำ
Ground
Ground
3
สายสีเหลือง
12
Volt
4
สายสีเขียว
PS_ON
PS_ON
5
สายสีน้ำเงิน
-12
Volt
6
สายสีขาว
-5
Volt
7
สายสีแดง
+5
Volt
8
สายสีม่วง
+5
Volt
9
สายสีเทา
+5
Volt
10
สายสีน้ำตาล
12
Volt

ชื่อ นางสาวกนกพร  พงษ์สมยศ  รหัส 001  ห้อง/กลุ่ม ปวส.1กลุ่ม 1 คอมพิวเตอร์กราฟิก